วิถีใบลาน แห่งน่านนคร
“น่าน” จังหวัดเล็ก ๆ ทางภาคเหนือของไทย ทรงคุณค่าเนื่องด้วยเป็นแหล่งคัมภีร์ใบลานอักษรธรรมจำนวนมาก เมื่อย้อนประวัติศาสตร์ไปตั้งแต่ยุคสร้างเมืองในพุทธศตวรรษที่ ๑๘ ทำให้พบว่า...
พิธีถวายผ้าป่ากองบุญรักษาพระภิกษุ - สามเณรอาพาธ เนื่องในวันธรรมชัย เสาร์ที่ 27 สิงหาคม
พิธีถวายผ้าป่ากองบุญรักษาพระภิกษุ - สามเณรอาพาธ เนื่องในวันธรรมชัย วันเสาร์ที่ 27 สิงหาคม พ.ศ.2559 ณ หน้าบ้านคุณยายฯ สภาธรรมกายสากล วัดพระธรรมกาย
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๖)
สืบเนื่องจากที่ผู้เขียนได้นำเสนอผลงานวิจัยการค้นพบ หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณที่ประเทศไทย ฉบับก่อนหน้านั้น ผู้เขียนมีความเชื่อมั่นว่า ท่านผู้อ่านที่ติดตามเรื่องราวมาตลอด และผู้ใคร่ต่อการศึกษา นักวิชาการเมื่อได้อ่านบทความและรับทราบถึงข้อมูลที่สมบูรณ์ด้วยเหตุผลพร้อมหลักฐานที่นำเสนอแล้วนั้น
สร้างมหาวิหาร มหาทานข้ามชาติ
การให้ทาน เป็นเครื่องฝึกจิตที่ยังไม่ได้ฝึก การไม่ให้ทาน เป็นเครื่องประทุญร้ายจิตที่ฝึกแล้ว (ปฐมทานสูตร)
วัดพระธรรมกายสร้างใหญ่ผิดหลักคำสอนพระสัมมาสัมพุทธเจ้าหรือไม่
ก่อนจะสรุปว่า “การสร้างวัดใหญ่” ผิดหรือถูก ก็อยากให้ลองเปิดพระไตรปิฎกศึกษาประวัติการสร้างที่ประทับของพระบรมศาสดาและการสร้างวัดในสมัยพุทธกาลกันเลยดีกว่า จะได้กระจ่างชัดว่า..วัดพระธรรมกายสร้างใหญ่ผิดหรือไม่ ?
ความจน - ความรวยในพระพุทธศาสนา
หนึ่งในความยากลำบากที่น่ากลัวที่สุดในการดำเนินชีวิตของคนในระหว่างที่ยังต้องเวียนว่ายตายเกิดก็คือ ความยากจน เพราะว่าความยากจนเป็นสิ่งที่บีบคั้นให้เกิดปัญหาอีกหลายอย่างขึ้นในโลก
อานิสงส์ถวายดอกบัวและธงชัย
การบูชาบุคคลผู้ควรบูชาเป็นอุดมมงคลสำหรับชีวิต เป็นทางมาแห่งมหากุศลอันยิ่งใหญ่ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าและเหล่าพระอรหันตสาวกล้วนเป็นบุคคลผู้บังเกิดขึ้น ได้ยากในโลก ...
วิบากกรรมออนไลน์ ดิ่งลงขุมลึกกว่าที่คาดคิด
ในยุคปัจจุบัน มีคนจำนวนไม่น้อยเข้าใจว่า..การด่าว่าพระภิกษุสงฆ์เป็นสิ่งไม่ผิดซ้ำร้ายยังคิดว่า..เป็นการช่วยพระพุทธศาสนาอีกด้วย เพราะเท่ากับเป็นการกำจัดพระไม่ดีให้หมดไป!
การเป็นนักสร้างบุญบารมี
ทางมาแห่งบุญ หรือวิธีการเพื่อให้ได้บุญมาขจัดอุปสรรคของชีวิต เรียกว่า บุญกิริยาวัตถุ คือ สิ่งที่เป็นที่ตั้งแห่งการทำบุญหรือเรื่องที่จัดเป็นการทำบุญ เป็นหนทางในการทำความดีหรือเป็นทางมาแห่งบุญ มี ๓ ประการ คือ
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๔)
ในชั้นนี้โดยรวมแล้วเราพบหลักฐานธรรมกายในประเทศไทยทั้งหมด ๑๔ ชิ้น แบ่งเป็นศิลาจารึก ๖ หลัก จารึกลานเงิน ๑ ชิ้นคัมภีร์จารึกใบลานหนังสือพับสารวม ๖ คัมภีร์และในรูปแบบหนังสืออีก ๑ เล่ม